น้ำกัดเท้า ซ้ำเติมผู้ประสบภัย น้ำท่วม 2565 เช็กวิธีป้องกันและรักษาโรค

THB 1000.00
น้ำกัดเท้า

น้ำกัดเท้า  โรคน้ำกัดเท้า ในช่วงน้ำท่วมที่ผ่านมา การย่ำน้ำ แช่เท้าในน้ำที่มีเชื้อโรคเป็นเวลานาน ทำให้เกิดอาการเท้าเปื่อย เป็นหนอง คันตามซอกนิ้วเท้าได้ หากมีบาดแผลให้ใช้แอลกอลฮอล์เช็ดแผลแล้วใส่ยาฆ่าเชื้อ นายแพทย์ไพโรจน์ สุรัตนวนิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวว่า อาการของโรคน้ำกัดเท้า แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ช่วง 1-3 วันแรก ผิวหนังเปื่อยเมื่อแช่น้ำ ผิวหนังแดงคัน แสบ

น้ำกัดเท้า เป็นภาวะที่ผิวหนังเท้าเปื่อยลอก แดง แสบและคัน เนื่องจากต้องเดินย่ำน้ำบ่อยๆ ทำให้ผิวหนังบริเวณเท้าเกิดแผลได้ง่าย และอาจติดเชื้อราหรือเชื้อแบคทีเรียได้  รายการพบหมอศิริราช เรื่อง โรคน้ำกัดเท้า โดย ผศ พญ จรัสศรี ฬียาพรรณ ภาควิชาตจวิทยา คณะเเพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

กรมการแพทย์ โดยสถาบันโรคผิวหนังชี้ “ โรคน้ำกัดเท้า ” ในพื้นที่อุทกภัย หรือมีน้ำท่วมขัง ซึ่งถือเป็นโรคที่ประชาชนไม่ควรละเลย และควรมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองอย่างถูกวิธี เพื่อลด 1 โรคน้ำกัดเท้า โรคผิวหนังที่เกิดกับเท้าและซอกนิ้วเท้า มีสาเหตุมาจากเชื้อรากลุ่ม Dermatophytes ชนิดเดียวกับที่ทำให้เกิดโรคกลาก ความอับชื้นของถุงเท้า รองเท้า จากการลุยฝนลุยน้ำ มี

Quantity:
Add To Cart